ตัวกรองผลการค้นหา
จตุ,จตุ-
หมายถึง[จะตุ-] ว. สี่, ใช้ประกอบหน้าคำที่มาจากภาษาบาลี. (ป.).
ทุกร,ทุกร-
หมายถึง[ทุกกะระ-] (แบบ) น. สิ่งที่ทำได้ยาก. (ป. ทุกฺกร).
พูดจา
หมายถึงก. พูด.
จาคะ
หมายถึงน. การสละ, การให้ปัน. (ป.; ส. ตฺยาค).
จตุตถ,จตุตถ-,จตุตถี
หมายถึง[จะตุดถะ-, -ตุดถี] ว. ที่ ๔ เช่นจตุตถจุลจอมเกล้า จตุตถสุรทิน จตุตถีดิถี. (ป.).
จดุร,จดุร-
หมายถึง[จะดุระ] (กลอน) แผลงมาจาก จตุร หมายความว่า สี่.
ร
หมายถึงพยัญชนะตัวที่ ๓๕ เป็นพวกอักษรตํ่า ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กน, ถ้าเขียนตัว ร ควบกัน ๒ ตัว เรียกว่า ร หัน ร ตัวหน้าทำหน้าที่เหมือนไม้หันอากาศ ร ตัวหลังเป็นตัวสะกด เช่น กรรไตร (กันไตฺร) ยรรยง (ยันยง) และเมื่อสะกดพยัญชนะที่ไม่มีสระอื่นเกาะต้องอ่านเหมือนมีสระ ออ อยู่ด้วย เช่น กร (กอน) กุญชร (กุนชอน), ถ้าตามพยัญชนะอื่น แต่มิได้ทำหน้าที่เป็นตัวสะกดและมีคำอื่นตาม พยัญชนะที่อยู่หน้าตัว ร มักออกเสียง ออ และตัว ร ออกเสียง อะ เช่น จรลี (จอ-ระ-ลี) หรดี (หอ-ระ-ดี).
จดุรงค์
หมายถึง[จะดุรง] (แบบ) ว. องค์ ๔. (ป. จตุร + องฺค).
ตุบ ๆ
หมายถึงว. อาการที่ชีพจรเป็นต้นเต้นเป็นระยะ ๆ.
จัตุ
หมายถึง[จัดตุ] ว. สี่. (ป. จตุ; ส. จตุรฺ).
อาตุระ
หมายถึงว. อาดุระ, อาดูร. (ป., ส. อาตุร).
เจรจา
หมายถึง[เจนระจา] ก. พูด, พูดจากัน, พูดจากันเป็นทางการ. (ส. จรฺจา).