ค้นเจอ 119 รายการ

กัษณ

หมายถึง[กัดสะหฺนะ] (กลอน) น. กษณะ, ขณะ, เช่น ในเมื่อกาลกัษณ. (ม. คำหลวง สักบรรพ).

กัจฉะ

หมายถึง[กัดฉะ] (ราชา) น. รักแร้, ใช้ว่า พระกัจฉะ. (ป.; ส. กกฺษ).

ลงสิ่ว

หมายถึงก. แกะสลักไม้โดยใช้สิ่วกัดผิวไม้ออกให้เหลือส่วนที่ต้องการ.

ห้ำ

หมายถึง(ปาก) ก. เข้าทำร้ายกัน; ตัดให้สั้นอย่างไม่เป็นระเบียบ; เข้าตะครุบขบกัด (ใช้แก่สัตว์).

งับ

หมายถึงก. ปิดอย่างไม่สนิทหรือปิดอย่างไม่ลงกลอน เช่น งับประตู; อาการที่อ้าปากคาบหรือกัดโดยเร็ว.

ลูกป่า

หมายถึงน. ต้นไม้หรือสัตว์ที่เป็นพันธุ์เดิมตามธรรมชาติ, มักใช้เรียกปลากัดหรือปลาเข็ม.

กรด

หมายถึง[กฺรด] ว. คมมีลักษณะที่กัดกร่อนหรือตัดสิ่งของได้ เช่น นํ้ากรด = นํ้าที่คม ลมกรด = ลมที่คม.

ชักสองแถว

หมายถึงก. ยอมแพ้ (ใช้แก่ปลากัดซึ่งมีตัวซีด มีเส้นดำขึ้นที่ตัวเป็น ๒ แถว).

ย้ำ,ย้ำ ๆ

หมายถึงก. พูดหรือทำซํ้า ๆ (เพื่อเน้นให้แน่น ให้กระชับ ให้มั่นคง) เช่น พูดยํ้า ยํ้าหัวตะปู. ว. อาการที่กัดเบา ๆ เพียงให้บุบหรือเป็นรอยช้ำ เช่น หมากัดย้ำ แต่ไม่เข้า เคี้ยวพอย้ำ ๆ.

ถอดสี

หมายถึงก. แสดงอาการหวาดหวั่นครั่นคร้ามให้เห็น (มาจากปลากัด ตัวที่แพ้จะถอดสี) เช่น กลัวจนหน้าถอดสี.

ข้าวใหม่น้อย

หมายถึงน. ชื่อไข้ที่เป็นผื่นตามตัวเหมือนมดกัด มีหัวสีขาว เวลาเป็นทำให้ตัวร้อนจัด.

กัทลี

หมายถึง[กัดทะลี] (แบบ) น. กล้วย เช่น คิดพ่างผลกัทลี ฆ่ากล้วย. (โลกนิติ). (ป., ส. กทลี).

 คำในภาษาไทย จัดกลุ่มตามตัวอักษร ก-ฮ