ตัวกรองผลการค้นหา
หรือคุณกำลังค้นหา อริยทรัพย์, ไฟกิเลส, จาร,จาร-,จาร-, มฆะ,มฆา,มาฆะ, อาจาร,อาจาร-, ฉาปะ, ยาคะ, ราค,ราค-,ราคะ, จาคี, จาป, จารวาก
จาคะ
หมายถึงน. การสละ, การให้ปัน. (ป.; ส. ตฺยาค).
อริยทรัพย์
หมายถึงน. ทรัพย์อันประเสริฐ มี ๗ ประการ คือ ศรัทธา ศีล หิริ โอตตัปปะ พาหุสัจจะ จาคะ ปัญญา. (ป. อริย + ส. ทฺรวฺย).
จา
หมายถึง(ถิ่น-พายัพ, อีสาน) ก. พูด, กล่าว.
คะ
หมายถึงคำกร่อนของคำหน้าซึ่งซ้ำกับคำหลังในคำที่มี ค เป็นพยัญชนะต้นในบทกลอน เช่น ครื้นครื้น กร่อนเป็น คะครื้น โครมโครม กร่อนเป็น คะโครม มีคำแปลอย่างเดียวกับคำเดิมนั้น และมีความหมายในทางย้ำเน้นคำ.
หมายถึงว. คำลงท้ายที่ผู้หญิงใช้ต่อจากคำถามหรือคำแสดงความสงสัยเพื่อแสดงความสุภาพ เช่น อะไรคะ กระมังคะ, คำลงท้ายที่ผู้หญิงใช้ต่อจากคำ ซิ นะ เพื่อแสดงความสุภาพ เช่น เชิญซิคะ ไปนะคะ.
จาตุรงค,จาตุรงค-,จาตุรงค์
หมายถึง[-ตุรงคะ-] ว. มีองค์ ๔, มีส่วน ๔. (ป. จาตุร + องฺค).
จาตุ,จาตุ-
หมายถึงว. แปลงมาจาก จตุ หมายความว่า สี่, ใช้ประกอบหน้าคำที่มาจากภาษาบาลี.
พูดจา
หมายถึงก. พูด.
ภคะ
หมายถึง(แบบ) น. โชคดี, ความเจริญ, เกียรติ. (ป., ส.).
เจ้าคะ
หมายถึงว. คำที่ผู้หญิงใช้เรียกหรือถามผู้ใหญ่อย่างสุภาพ.
จาตุร,จาตุร-
หมายถึง[จาตุระ-] (แบบ) ว. แปลงมาจาก จตุร หมายความว่า สี่, ใช้ประกอบหน้าคำที่มาจากภาษาบาลี.
มาตังคะ
หมายถึง[-ตังคะ] น. มาตงค์, ช้าง. (ป.).